28 ต.ค. 2567
โรคหลอดเลือดสมอง ยิ่งปล่อยไว้นาน ยิ่งเสี่ยงเสียหาย ทุกๆ 1 นาที สมองสูญเสียเซลล์ไปถึง 1.9 ล้านเซลล์ โอกาสในการฟื้นตัวลดลงทุกวินาที ! รักษาเร็ว ฟื้นตัวไว ลดความพิการ เพิ่มโอกาสกลับมาใช้ชีวิตใกล้เคียงปกติด้วยการ ฝังเข็มรมยาและเต๋าอิ่นจากแพทย์แผนจีน ร่วมกับการใช้ยาสมุนไพรจีน
22 ต.ค. 2567
อาการเกร็ง (Spasticity) เกิดขึ้นบ่อยในผู้ป่วยหลัง Stroke จากการบาดเจ็บที่สมองหรือไขสันหลัง ทำให้ไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวได้ อาการนี้สามารถเกิดได้ทั้งแขนและขา ตามตำแหน่งสมองของระบบประสั่งการที่ได้รับบาดเจ็บ ซึ่งระดับความรุนแรงเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลาการดำเนินโรค
1 ก.ค. 2567
ภาวะความรู้คิดบกพร่องจากหลอดเลือดสมอง เป็นภาวะเจอได้บ่อย สัดส่วนที่ใกล้เคียงกับโรคอัลไซเมอร์ โดยผู้ป่วยมีความบกพร่องด้านสมรรถภาพทางสมอง ทั้งในด้านความจำและการรู้คิด
8 ธ.ค. 2566
ในการแพทย์แผนจีนโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์จะสามารถจัดอยู่ในกลุ่มโรค “尪痹 Wang bi”หรือ “顽痹 Wan bi” “历节风 Li Jie Feng” ซึ่งจัดเป็นโรคปวดข้อที่รักษาได้ยาก
7 ธ.ค. 2566
โรคตาในผู้สูงอายุ จะสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ้นและการเสื่อมถอยของร่างกาย โรคของตาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เช่น ต้อกระจก ต้อหิน โรคของจอประสาทตา เป็นต้น
22 พ.ย. 2566
เต๋าอิ่นสามารถช่วยฟื้นฟูกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาการเคลื่อนไหวต่างๆ อัมพฤกษ์อัมพาต กล้ามเนื้อตึงเกร็งหรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง พาร์กินสัน
6 พ.ย. 2566
อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคหลอดเลือดสมอง คือ ภาวะที่สมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพออย่างเฉียบพลัน เนื่องมาจากหลอดเลือดตีบ อุดตันหรือแตก
1 พ.ย. 2566
สูตรอาหารแนะนำเพื่อป้องกันและปรับสมดุลสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงสรรพคุณทางการแพทย์จีน ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวังของอาหารที่เป็นส่วนประกอบ
27 ต.ค. 2566
สูตรอาหารแนะนำเพื่อป้องกันและปรับสมดุลสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงสรรพคุณทางการแพทย์จีน ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวังของอาหารที่เป็นส่วนประกอบ
27 ต.ค. 2566
สูตรอาหารแนะนำเพื่อป้องกันและปรับสมดุลสำหรับผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงสรรพคุณทางการแพทย์จีน ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวังของอาหารที่เป็นส่วนประกอบ
26 ต.ค. 2566
ภาวะความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง การมีไขมันในเลือดสูง ภาวะอ้วน ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง
26 ต.ค. 2566
การทรงตัวเป็นความสามารถของร่างกายในการควบคุมและรักษาศูนย์ถ่วงของร่างกายให้สมดุล ทั้งขณะเคลื่อนไหว เช่น การเดิน การขึ้นลงบันได
20 ต.ค. 2566
โรคพาร์กินสัน (Parkinson’s disease : 帕金森病) คือ โรคที่เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ส่งผลให้การผลิตสารบางอย่างหรือ โดพามีน
19 ต.ค. 2566
พาร์กินสัน (Parkinson's disease) เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาทบริเวณก้านสมอง ทำให้การผลิตสารที่ชื่อว่า “โดพามีน” ลดลง ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว
9 ต.ค. 2566
ก่อนการทำการฝึก เราสามารถเริ่มฝึกการกำหนดลมหายใจ ได้ด้วยวิธีการยืนตรงขาสองข้างชิดกัน ปลายเท้าหันออกด้านหน้า ผู้ชายใช้มือซ้ายวางตำแหน่งใต้สะดือและมือขวาวางทับ
5 ต.ค. 2566
การฝึกเต๋าอิ่นเป็นการฝึกการเคลื่อนไหวร่างกาย ร่วมกับควบคุมลมหายใจ หรือการฝึกเน่ยกง ทำให้สามารถเคลื่อนไหวชี่เพื่อบำรุงอวัยวะภายใน ทางการแพทย์แผนจีนเชื่อว่า ถ้าชี่สามารถไหลเวียนได้อย่างสะดวกคล่องแคล่วจะทำให้สุขภาพดี
3 ต.ค. 2566
ความปวด เป็นอาการของความไม่สุขสบายทั้งร่างกาย ความรู้สึกและอารมณ์ แต่ละบุคคลจะมีความแตกต่างกันออกไป
3 ต.ค. 2566
ภาวะสมองพิการ Cerebral palsy : CP ภาษาจีนเรียก 小儿脑瘫 คือ ความผิดปกติของระบบประสาทและสมองในทารกแรกเกิดหรือเด็กเล็ก ซึ่งสาเหตุสำคัญเกิดจากสมองที่กำลังพัฒนาดำเนินได้อย่างไม่สมบูรณ์
30 พ.ย. 2565
เป็นวิธีการดูแลฟื้นฟูสุขภาพเฉพาะทางแขนงหนึ่ง เดิมเป็นศาสตร์ชี่กงที่มีการแบ่งและเรียกขานชื่อมากมาย เป็นวิธีการรักษาดูแลสุขภาพแบบจีนโบราณ ใช้ท่วงท่าการเคลื่อนไหวร่างกาย
3 ส.ค. 2563
หมอจีนป้องกันรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หรือ จ้งเฟิง ตั้งแต่ยังไม่ป่วยได้อย่างไร ? รีบรักษาแต่เนิ่นๆ ดับไฟเสียแต่ต้นลม เมื่อป่วยแล้วจะต้องป้องกันไม่ให้โรคพัฒนาเป็นหนักขึ้นอย่างไร ? รวมไปถึงระยะพักฟื้น หรือ ระยะฟื้นตัวหลังการเจ็บป่วย ป้องกันไม่ให้กลับมาป่วยซ้ำอีก
7 ก.ค. 2563
กลุ่มโรคและภาวะอาการของโรคหลอดเลือดสมอง (สมองขาดเลือด) รวมไปถึงโรคที่ตามมาหลังจากเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งสามารถรักษาด้วยวิธีการฝังเข็มร่วมกับหัตถการเสริมการรักษาอื่นๆร่วมด้วย เช่น การรมยา เข็มอุ่น กระตุ้นไฟฟ้า ครอบแก้ว ฯลฯ รวมไปถึงการรักษาเสริมในภาคยาจีนทั้งในระยะเฉียบพลัน รวมไปถึงการใช้ยาจีนรักษาโรคหลอดเลือดสมอง (ก้านสมองตาย) ในระยะฟื้นตัว
24 พ.ค. 2562
กลุ่มอาการที่เกิดจากโครงสร้างสมองถูกทำลายแบบเรื้อรังหรือแบบต่อเนื่องทำให้หน้าที่การทำงานของสมองระดับสูงผิดปกติไป
24 เม.ย 2562
อาการอ่อนล้าของกล้ามเนื้อบางส่วนหรือทั้งร่างกาย แขนขาไม่มีแรง แขนมักเป็นหนักกว่าขา ส่งผลต่อกล้ามเนื้อในการหายใจ อ่อนเพลียไม่มีแรง เดินเคลื่อนไหวลำบาก
2 เม.ย 2562
โรคที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วฉับพลัน หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบ อุดตัน หรือแตก เลือดไปหล่อเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ เซลล์สมองได้รับความเสียหายและสูญเสียการทำงาน
17 ต.ค. 2561
การช่วยฟื้นฟูพัฒนาสมรรถภาพของผู้ป่วยให้ช่วยเหลือตนเองได้เต็มที่ตามความสามารถที่เหลืออยู่ ภายหลังการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและกลับคืนสู่สภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด ทั้งด้านร่างกายจิตใจและสังคม
12 ก.ย. 2561
เป็นการฝังเข็มที่ตำแหน่งพิเศษของเขตกระตุ้นบนศีรษะ เป็นอีกหนึ่งวิธีของการฝังเข็มเพื่อใช้รักษาโรคได้หลายชนิด โดยเฉพาะโรคทางสมอง
11 ก.ย. 2561
แนวคิด “ปลุกสมองเปิดทวาร (醒脑开窍)” มีมุมมองว่า โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke)หรือจ้งเฟิง เป็นโรคที่มีอาการหนัก มีอาการแสดงหลายอย่าง ระยะเวลาของโรคนาน ตำแหน่งของโรคอยู่ลึก การรักษาจึงต้องแก้ที่สาเหตุพื้นฐาน คือตับและไตพร่อง โดยมุ่งเน้นการหล่อเลี้ยงเสริมบำรุงตับและไตเป็นหลัก
7 ส.ค. 2561
การฝังเข็มรักษาโรคหลอดเลือดสมองแบบดั้งเดิม แพทย์จีนจะอาศัยการเลือกจุดฝังเข็มและเทคนิคการกระตุ้นเข็มตามสาเหตุและการวิเคราะห์แยกกลุ่มอาการโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนจีน เนื่องจากเป็นโรคที่มีความหลากหลายทั้งอาการ ความรุนแรง การดำเนินของโรคและภาวะแทรกซ้อน ซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคและสภาพพื้นฐานของผู้ป่วยแต่ละราย