20 มี.ค. 2562
พฤติกรรมชีวิตที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำติดต่อกันเป็นเวลานาน แม่บ้าน หรือนักกีฬา พบมากในผู้ป่วยวัยทำงานที่ช่วงอายุ 30-60 ปี
15 มี.ค. 2562
สาเหตุของอาการปวด เกิดได้ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกร่างกาย ในทางการแพทย์แผนจีน ได้จัดหมวดหมู่กลุ่มอาการปวด ไม่ว่าจะเป็นอาการปวดคอ ปวดเอว ปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ อยู่ในกลุ่มอาการ ปีเจิ้ง
13 มี.ค. 2562
การนวดทุยหนาเด็ก มีประวัติการรักษามาอย่างยาวนาน พร้อมๆกับการนวดเพื่อรักษาอาการปวดโดยทั่วไป วิธีการนวดทุยหนาในเด็กจะอาศัยหลักการของแพทย์แผนจีนโบราณทั้งทฤษฎีการตรวจแยกแยะวิเคราะห์โรค
17 ก.พ. 2562
เยื่อหุ้มชั้นนอกของหมอนรองกระดูกที่อยู่บริเวณสันหลังได้รับแรงกดหรือแรงกระแทก ทำให้เนื้อเยื่อชั้นนอกค่อยๆถูกทำลายหรือฉีกขาด
6 ก.พ. 2562
เมื่อกระดูกสันหลังระดับเอวเคลื่อนไปด้านหน้าเหนือข้อต่อปล้องกระดูกสันหลังชิ้นล่างที่อยู่ติดกัน ทำให้โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบลง เกิดการกดเบียดรากประสาท ที่พบบ่อยคือการเสื่อมสภาพของกระดูกสันหลัง
30 ม.ค. 2562
ผู้ป่วยมีอาการปวดหัวเข่าด้านขวา เดินนานมีอาการปวดหัวเข่ามาก ขึ้นลงบันไดลำบาก ไม่สามารถนั่งยองได้
25 ม.ค. 2562
ถ้าเราก้มหน้า 60 องศา กระดูกคอเราจะรับน้ำหนักถึง 27 กิโลกรัม !!! เทียบเท่ากับเอาเด็ก 8 ขวบขึ้นมานั่งบนหัว ยิ่งก้มคอใช้สมาร์ทโฟนนานๆมากเท่าไรหมอนรองกระดูกต้นคอยิ่งเสื่อมมากขึ้นเท่านั้น
14 ม.ค. 2562
ตัวอย่างการรักษาก้อนถุงน้ำบนข้อมือด้วยวิธีแพทย์แผนจีน
9 ม.ค. 2562
แนะนำการนวดกดจุดที่จะช่วยบรรเทาอาการปวดหัวเวียนหัวได้ด้วยตนเอง ช่วยกระตุ้นให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น ลดอาการตึง เกร็งของกล้ามเนื้อคอบ่า
9 ม.ค. 2562
กรณีศึกษาการรักษากลุ่มอาการด้านกระดูกและกล้ามเนื้อ อาการปวดต้นคอด้านซ้าย มีวิธีการประเมินการรักษาและขั้นตอนการรักษาโดยวิธีการรักษาแบบแพทย์แผนจีนอย่าง
5 พ.ย. 2561
การนอนหงายขาตั้งฉากกับลำตัว แล้วเอาขาพาดอยู่บนเก้าอี้ นอนท่านี้เป็นเวลา 10-15 นาที โดยไม่เคลื่อนไหวลำตัว สามารถบรรเทาอาการปวดหลังได้จริงหรือ ?
21 ต.ค. 2561
อุบัติเหตุขณะออกกำลังกาย หกล้ม ได้รับแรงกระแทก บิดตัวผิดท่ามีอาการเจ็บปวด บวมหรือฟกช้ำเฉพาะที่ อาจมีการจำกัดการเคลื่อนไหว หรือเคลื่อนไหวร่างกายส่วนนั้นไม่ได้
19 ต.ค. 2561
กลุ่มอาการปวดจากพังผืดกล้ามเนื้อ เป็นกลุ่มอาการที่มีลักษณะปวดอันเนื่องจากมี “จุดกดเจ็บเฉพาะ” (Trigger point ; TrP) ในกล้ามเนื้อ
20 ก.ย. 2561
อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อหลังและเอวพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ อาการเหล่านี้เกิดขึ้นจากอะไร ทั้งๆที่พวกท่านก็ไม่ได้ทำงานหนักแต่ทำไมจึงปวดบ่อยๆ
19 ก.ย. 2561
การเคลื่อนไหวนิ้วเริ่มมีการสะดุด โดยเฉพาะเวลาที่อากาศเย็น หรือเวลาตื่นนอนตอนเช้า นิ้วจะอยู่ในท่าเกร็งงอ หรือเหยียดตรงแต่กำมือไม่ลง จะต้องใช้มือช่วยง้างออก หรือหากล็อกอยู่ในท่าเหยียดตรงก็จะกำมือไม่ได้ มีอาการแสดงที่หลากหลาย ตั้งแต่เจ็บฐานนิ้ว นิ้วฝืด นิ้วสะดุด นิ้วกระเด้ง นิ้วล็อก นิ้วโก่ง นิ้วแข็ง นิ้วบวม นิ้วชา กำนิ้วไม่ลง นิ้วเกยกัน
13 ก.ย. 2561
ช่วงฤดูฝน ฝนตกแทบทุกวัน อากาศก็เย็นชื้นสลับร้อน ทำให้คนส่วนใหญ่มักจะมีอาการป่วยเป็นไข้หวัด น้ำมูกไหล ตัวร้อน เจ็บคอ ไอ คันคอ เมื่อยเนื้อเมื่อตัว ไม่สบายตัว ไม่โล่งสบาย
13 ก.ย. 2561
พฤติกรรมเสี่ยงที่คนไข้หลายๆคนมักจะทำเป็นประจำโดยบางทีก็เป็นความเคยชิน พอทำซ้ำๆบ่อยๆเข้า ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้หมอนรองกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท
9 ก.ย. 2561
คำแนะนำเบื้องต้นเพื่อเตรียมตัวก่อนและหลังการนวดทุยหนา เพื่อสร้างความเข้าใจและให้ผู้ป่วยมีการเตรียมความพร้อมก่อนการรับการรักษา
3 ก.ค. 2561
อาการชา เหมือนมีเข็มทิ่ม แสบร้อนที่นิ้วมือทั้งห้าโดยเฉพาะนิ้วชี้และนิ้วกลาง ไม่สามารถกำมือได้ ปวดทั้งแขนจนถึงไหล่ หรือมือบวม อาการมักจะเป็นมากตอนกลางคืน ความรุนแรงแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละราย
15 มิ.ย. 2561
สาเหตุของโรคมักเกิดจากการใช้งานเกินกำลัง ทำให้เกิดบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้อของเอ็นในบริเวณข้อศอก อาชีพที่มักพบได้บ่อย คือ ทันตแพทย์ ช่างทำผม คนทำครัว พนักงานยกของ และกลุ่มนักกีฬาที่ใช้แรงแขนมาก ๆ เช่น เทนนิส แบดมินตัน
11 มิ.ย. 2561
การบาดเจ็บของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ สาเหตุจากเส้นเอ็นบริเวณข้อมือและนิ้วมือใช้งานหักโหมจนทำให้เกิดอาการบาดเจ็บสะสมเรื้อรัง
6 มิ.ย. 2561
ศาสตร์การนวดของแผนจีนที่มีมาอย่างยาวนาน โดยแพทย์แผนจีนจะใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายในการกด การคลึง การถู การบีบ การดีด หรือการคลึงตามจุดต่างๆ ของเส้นลมปราณบนร่างกาย เพื่อให้เลือดลมไหลเวียนไปตามอวัยวะต่างๆ ได้ดีขึ้น
31 พ.ค. 2561
เคล็ดลับวิธีนอนหลับเพื่อสุขภาพ จะนอนให้หลับสนิท ต้องทำให้หัวใจหลับก่อนจึงหลับตา คนเราถ้าใจไม่สงบ ถึงนอนก็จะหลับไม่ลง ถ้าพักผ่อนหัวใจได้ ตาก็จะหลับได้เอง
31 พ.ค. 2561
สาเหตุมาจากการออกแรงในการกำมือหรืองอนิ้วบ่อยๆ จนทำให้เกิดการหนาตัวของปลอกหุ้มเส้นเอ็นจนกดรัดการเคลื่อนไหวของเส้นเอ็น โรคนี้พบบ่อยในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายและพบมากในช่วงอายุ 30-60 ปี มักเกิดกับมือข้างถนัดที่ใช้งาน
24 พ.ค. 2561
ท่าทางในการนั่ง ยืน นอน และเดินที่ถูกต้อง สามารถป้องกันและคลายความปวดเมื่อยตามร่างกายได้เป็นอย่างดี
12 เม.ย 2561
ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน หลักคิดในการรักษาคือ "การระบาย" สาเหตุของอาการปวดเกิดจาก "การติดขัดของการไหลเวียนของชี่หรือลมปราณ" หรือจากการที่ชี่และเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ
25 มี.ค. 2561
อาการสะสมจากการทำพฤติกรรมซ้ำๆ ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังแบบ “ออฟฟิศซินโดรม” หรือ “ภาวะหลังค่อม” ซึ่งไม่เป็นผลดีนะครับ ปล่อยเอาไว้นานๆไม่รักษาและไม่ปรับพฤติกรรมก็อาจจะเป็นผลเสียต่อสุขภาพ