5 มี.ค. 2567
ประคบร้อน ช่วยให้เส้นเลือดขยายตัว เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ซ่อมแซมการบาดเจ็บดีขึ้น บรรเทาอาการปวด ส่วน ประคบเย็น ช่วยให้เส้นเลือดหดตัว
8 ธ.ค. 2566
เมื่ออากาศเริ่มเย็นลง พอฉันตื่นขึ้นมาก็พบว่าคอตัวเองขยับไม่ได้ มีอาการคอไหล่ตึงและปวดมากเวลาเคลื่อนไหวสงสัยจะคอตกหมอนแล้วแหละ
6 พ.ย. 2566
ปัจจุบันโรคยอดฮิตของผู้ใช้สมาร์ทโฟนนอกจากอาการออฟฟิศซินโดรมที่ทำให้ปวดคอ บ่า ไหล่แล้ว ก็ยังพบโรคทางข้อมือที่เข้ามาทำให้ปวดกาย รำคาญใจ
7 ก.ย. 2566
ช่วงฤดูฝนอากาศเย็นชื้น อาจทำให้เกิดอาการปวดตามข้อต่างๆในร่างกายได้ นอกจากการประคบหรือแช่เท้าในน้ำอุ่นเพื่อขจัดความเย็นชื้นแล้ว ยังสามารถนวดกดจุดตามบริเวณข้อต่างๆด้วยตนเองได้
8 พ.ย. 2565
ในปัจจุบันคนทั่วไปมีการอาการปวดต้นคอเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงาน เป็นๆ หายๆ รักษาแล้วก็กลับมาเป็นอีก
6 พ.ค. 2565
การประเมินความปวด โดยผู้ป่วยให้คะแนนความปวดด้วยตนเอง ด้วยมาตรวัดความปวดแบบตัวเลข (numerical rating scale: NRS)
25 มี.ค. 2565
เมื่อการไหลเวียนของเส้นลมปราณนี้เริ่มตั้งแต่หัวจรดเท้า ไหลเวียนไม่ดี มีการอุดตันจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย เช่น ปวดหัวไมเกรน ร้าวถึงเบ้าตา หูอื้อ มีเสียงในหู ปวดตึง คอบ่าไหล่ นอนหลับยาก ตื่นบ่อย ใจสั่น ตกใจง่าย จุกเสียดชายโครง
26 ม.ค. 2565
อาการที่ทำให้หลายๆคนสะดุ้งตื่นกลางดึก และเกิดความเจ็บปวดอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งก่อนอาการจะทุเลาลง โดยมักจะเกิดกับกล้ามเนื้อด้านหลังต้นขา (Hamstrings) หรือ ด้านหลังของน่อง (Calf)
2 ธ.ค. 2564
อาการอักเสบที่เกิดขึ้นกับพังผืดใต้ฝ่าเท้า โดยผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดบริเวณส้นเท้าด้านในหรือตามแนวแถบของพังผืด ในตอนเช้าอาการปวดจะมีลักษณะแปล๊บๆ เหมือนมีอะไรมาแทงบริเวณส้นเท้า หรือปวดแบบโดนของร้อน ทำให้เวลาที่วางส้นเท้าลงกับพื้นอาจมีอาการสะดุ้ง อาการปวดจะค่อยๆ เบาลงเมื่อเดินไปได้ 2-3 ก้าว และสามารถกลับมาปวดมากเหมือนเดิมได้ใหม่ หากยืนเป็นระยะเวลานานหรือลุกขึ้นจากการนั่งพักนานๆ
30 พ.ย. 2564
เป็นการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยมากในนักวิ่ง นักปั่น หรือ นักเดินทางไกล ทำให้มีอาการปวดที่บริเวณหัวเข่าด้านนอก เกิดการอักเสบจากการเสียดสีกับกระดูก บริเวณเข่าด้านข้าง เวลามีการเคลื่อนไหวของเข่า เป็นๆหายๆ โดยเฉพาะเวลาวิ่งในทางชัน
18 พ.ย. 2564
หรือบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า เป็นสิ่งที่พบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจจะเกิดจากอุบัติเหตุที่ทำให้เกิดการปะทะอย่างรุนแรงบริเวณข้อเข่า เช่น การหกล้ม การตกจากที่สูง หรือการประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ เป็นต้น หรือ เกิดจากการออกกำลังกาย บาดเจ็บจากกีฬา
18 พ.ย. 2564
สาเหตุหลักมาจากแรงกระทำภายนอก หรือเกิดการบาดเจ็บล้าเป็นเวลานาน ซึ่งมีการบาดเจ็บเกิดขึ้นที่เส้นเอ็นบริเวณข้อมือ กล้ามเนื้อ ปลอกเอ็นหุ้ม ได้รับแรงมากเกินไปทำให้เกิดการอักเสบ ในทางคลินิกจะมีอาการ บวมบริเวณข้อมือ ปวดข้อมือ การขยับข้อมือติดขัด
16 พ.ย. 2564
เป็นโรคหรือกลุ่มอาการชนิดหนึ่งที่มีอาการแสดงสำคัญ ได้แก่ อาการปวด บวม ฟกช้ำและการเคลื่อนไหวข้อเท้าติดขัด โรคนี้เป็นหนึ่งในอาการบาดเจ็บที่พบได้บ่อยในทางคลินิก สามารถพบได้ทุกเพศทุกวัย ส่วนใหญ่มักพบในวัยกลางคน และอาการบาดเจ็บจากกีฬา
4 พ.ย. 2564
อาการปวดหลังที่พบได้บ่อยที่สุด กล้ามเนื้อบริเวณหลังส่วนล่างมักต้องรองรับน้ำหนักของร่างกายส่วนบนและใช้เพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ที่ต้องบิดงอและก้มโค้งบ่อย ๆ อาจได้รับบาดเจ็บอย่างกะทันหัน หรือการใช้งานกล้ามเนื้อบริเวณนี้มากเกินไปมาอย่างต่อเนื่อง
30 ก.ย. 2564
กอล์ฟเป็นกีฬาที่ซับซ้อนและอาศัยทักษะทางกายภาพหลายด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวทั่วร่างกาย จากการศึกษาและเก็บข้อมูลพบว่า การตีกอล์ฟเป็นกีฬาอย่างหนึ่งที่อาจทำให้บาดเจ็บได้ ทั้งหัวไหล่ หลังส่วนล่าง ข้อศอก ข้อมือ หัวเข่า แต่ที่ต้องระวัง คือ การบาดเจ็บของข้อไหล่
28 ก.ย. 2564
อาการปวดศีรษะคล้ายกับมีอะไรมาบีบรัดบริเวณศีรษะ ตื้อๆ หนักๆ ปวดพอรำคาญ อาจเกิดเวลาใดก็ได้ ระยะเวลาที่มีอาการไม่แน่นอน ส่วนใหญ่มักมีอาการหลายชั่วโมง หรือตลอดทั้งวัน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค อาการปวดจะรุนแรงขึ้นเมื่อมีความเครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ หรือ ใช้สายตาเป็นระยะเวลานาน
24 ก.ย. 2564
มีนักกีฬาจำนวนไม่น้อยที่หันมาพึ่งวิธีการรักษาทางด้านแพทย์แผนจีนไม่ว่าจะเป็น การฝังเข็ม ครอบแก้ว นวดทุยหนา เช่น ไมเคิลเฟลปป์ นักกีฬาว่ายน้ำโอลิมปิค เลือกใช้วิธีการครอบแก้วก่อนการแข่งขันกีฬา
15 ก.ย. 2564
การดึงหลัง เป็นหนึ่งในวิธีการรักษาโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทแบบการแพทย์แผนจีนดั้งเดิม วิธีนี้เริ่มมีการใช้เพื่อการรักษา ครั้งแรกในสมัยราชวง์ชิง จากการบันทึกของตำราแพทย์แผนจีนโบราณ “อีจงจินเจี้ยน” ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการดึงหลังแบบพานซั่วเตี้ยนจวนฝ่า “攀索叠砖法”
20 พ.ค. 2564
โรคที่เกี่ยวข้องที่อาจพบอาการชาร่วมด้วย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน (เส้นประสาทถูกทำลายจากโรคเบาหวาน) เป็นต้น สำหรับอาการชาและอาการปวดต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในทางแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่ม “โรคปี้เจิ้ง” เกิดจากเลือดลมที่ไหลเวียนได้ไม่ดี
20 พ.ค. 2564
อาการของการชาตามนิ้วมือนั้น จะรู้เจ็บแปลบที่บริเวณ ปลายนิ้ว คล้ายถูกเข็มแทงหรือไฟฟ้าช็อต บางคนอาจรู้สึกปวดแสบปวดร้อนภายใน ซึ่งถ้าหากมีความรุนแรงมาก ก็อาจจะทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถหยิบจับสิ่งของได้ตามปกติ หากเกิดขึ้นแบบนานครั้ง ครั้งละไม่กี่วินาที ก็ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วง เพราะอาจเกิดจากการขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงแบบชั่วคราว แต่ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆ จนไม่สามารถใช้งานมือได้ตามปกติ ก็แสดงว่าอาจจะมีปัญหาเกี่ยวกับเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของมือและนิ้วมือแล้ว
20 พ.ค. 2564
ผู้ป่วยมักจะมีอาการปวดหลัง ร้าวลงขา โดยจะร้าวตั้งแต่สะโพกลงไป ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของหมอนรองกระดูกกว่ากดทับเส้นประสาทใด สามารถร้าวได้ตั้งแต่สะโพกไปจนถึงเท้า ในบางรายอาจมีอาการชา และอาการอ่อนแรงร่วมด้วย
20 พ.ค. 2564
"อาการชา" เป็นหนึ่งในอาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท นอกจากนี้ยังเกิดจากสาเหตุอื่นได้ เช่น การใช้งานหนักบริเวณแขนและข้อมือ การขาดวิตามินบี หรือ สาเหตุจากอาการป่วย เช่น โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคเส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ โรคเบาหวาน โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือด เป็นต้น ดังนั้น เมื่อมีอาการชา จึงไม่ควรนิ่งนอนใจ หรือปล่อยให้อาการนี้เป็นต่อเนื่องโดยไม่เริ่มต้นรักษา เพราะนั่นอาจเป็นสัญญาณที่ส่อถึงอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาวได้
24 ก.พ. 2564
หากร่างกายเรามีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ทำให้เลือดและชี่ไหลเวียนสะดวก ทำให้กระดูกและเส้นเอ็นแข็งแรง ทำให้ข้อต่อต่าง ๆ ในร่างกายไหลลื่น อวัยวะภายในร่างกายก็จะแข็งแรงขึ้น เราก็จะมีจิตใจที่แจ่มใส และมีอายุที่ยืนยาว แพทย์จีนจึงแนะนำวิธีการป้องกันร่างกายจากโรคต่างๆ ด้วยท่ากายบริหาร เพื่อสุขภาพแข็งแรงที่ดียิ่งขึ้น
24 ก.พ. 2564
อาการปวดเมื่อยในผู้สูงอายุมีได้หลายสาเหตุ อันแรกคือ โรคข้อเสื่อม ซึ่งเกิดตามข้อต่างๆ เกิดในคนที่มีอายุมาก ซึ่งจะเป็นเกือบทุกคน และอีกอย่างคือโรค กระดูกผุ มีเนื้อของกระดูกบางลง อันดับที่สาม คือโรคหมอนรองกระดูกทับประสาท และอีกประการหนึ่งก็ได้แก่ พวกโรครูมาติสซั่ม นอกจากนั้นก็อาจจะมาจากโรคไต หรือโรคกระเพาะอาหาร
5 พ.ค. 2563
ช่วยทำให้เส้นเอ็นมีความยืดหยุ่น สร้างความแข็งแรงให้กระดูกและร่างกาย เสริมชี่ อีกทั้งยังสามารถขับเคลื่อนชี่ กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ปรับสมดุลการทำงานของอวัยวะตันทั้ง 5 และอวัยวะกลวงทั้ง 6 ปรับสมดุลการทำงานของเส้นประสาทและของเหลวภายในร่างกาย เพิ่มการไหลเวียนของเลือด เป็นการช่วยนวดอวัยวะภายในช่องท้องอย่างอ่อนโยน ปรับการทำงานของระบบประสาท ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ รวมถึงระบบกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี
21 ก.พ. 2563
เทคนิควิธีการหย่างเซิงส่งเสริมสุขภาพตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน มีวิธีการบำรุงเกี่ยวกับจุดต่างๆ โดยใช้วิธีนวดกดจุดบำรุงร่างกาย ซึ่งเป็นเทคนิควิธีง่ายๆ ช่วยส่งเสริมร่างกายให้แข็งแรงได้
6 ม.ค. 2563
แนวทางการรักษาภาวะอักเสบรอบข้อไหล่ กล้ามเนื้อเอ็นบริเวณต้นคอไหล่อักเสบ เอ็นข้อศอกอักเสบ กลุ่มอาการของข้อพับมือด้วยวิธีการรักษาของแพทย์แผนจีน
7 พ.ย. 2562
มีประวัติได้รับบาดเจ็บที่บริเวณเอว หรือบริเวณเอวเคยแบกรับน้ำหนักไม่เท่ากัน หรือเกิดจากการได้รับลมเย็นแล้วกระตุ้นให้เกิด โดยมากจะพบว่าเพศชายจะเป็นได้มากกว่าเพศหญิง และพบมากในวัยรุ่น โดยจะมีอาการปวดเอวร่วมกับปวดร้าวลงขา
16 ส.ค. 2562
เมื่อมีอายุมากขึ้น หมอนรองกระดูกสันหลังเกิดการเสื่อมสภาพ Nucleus pulposus มีส่วนประกอบของน้ำค่อยๆ ลดลง สูญเสียความยืดหยุ่น ระยะห่างระหว่างกระดูกสันหลังแคบลง ligament รอบๆ กระดูกสันหลังเกิดการหย่อน
20 มี.ค. 2562
พฤติกรรมชีวิตที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นประจำติดต่อกันเป็นเวลานาน แม่บ้าน หรือนักกีฬา พบมากในผู้ป่วยวัยทำงานที่ช่วงอายุ 30-60 ปี