26 พ.ค. 2565
ภาพกิจกรรม "ฟื้นฟูกายใจ พิชิตภัยลองโควิด" ภายในงานมีกิจกรรมเสวนาภาษาหมอจีน ในหัวข้อ "แพทย์จีน กับ Long Covid" รวมชิมชา "ชาแดงบาเล่ย์คั่ว"
21 ธ.ค. 2564
เมื่อเกิดการติดเชื้อ Covid-19 เชื้อไวรัสมักบุกรุกร่างกาย ส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะในหลายระบบ ในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ได้รับการรักษาและหายจากการติดเชื้อ Covid-19 แล้วนั้น ก็มักพบร่องรอยของโรคและอาการที่อาจตามมาได้ค่อนข้างหลากหลาย เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หายใจลำบาก ไอ นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงหรือต่ำ
10 พ.ย. 2564
ความสมบูรณ์ของอิน-หยางในร่างกาย มีความสำคัญต่อสุขภาพไม่ว่าจะเป็นความสมดุลระหว่างส่วนบนหรือส่วนล่างของร่างกาย หรือ ระหว่างภายในหรือภายนอกร่างกาย หรือระหว่างพลังงานชี่นอกหรือพลังงานชี่ในร่างกาย หรือ ระหว่างชี่กับมวล ถ้าความสมดุลเสียไปก็ป่วยเป็นโรค
15 ต.ค. 2564
อาการที่พบได้บ่อยที่สุดหลังจากผ่านไป 6 เดือน คือ อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย และมีปัญหาด้านความจำ ร้อยละ 85.9 ของผู้ป่วยจะมีอาการเป็นมากขึ้นเมื่อออกกำลังกาย ทำกิจกรรม หรือเมื่อมีความเครียด และใช้เวลาในการฟื้นฟูร่างกายกลับสู่ปกตินานถึง 35 สัปดาห์
7 ต.ค. 2564
การป้องกันโรคตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนเน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงและการป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการเปลี่ยนแปลงของโรคไม่ให้ดำเนินไปในทิศทางที่แย่ลง และป้องกันโรคไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ แพทย์แผนจีนเชื่อว่าการป้องกันโรคจำเป็นต้องเน้นการเสริมความแข็งแกร่งให้กับภูมิต้านทาน
28 ก.ย. 2564
พฤติกรรมในชีวิตประจำวันอาจดูเป็นความเคยชิน ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างควรหลีกเลี่ยงถ้าอยากมีสุขภาพที่ดี ในราชวงศ์ชิงมีผู้เชี่ยวชาญด้านการหย่างเซิงชื่อ อาจารย์ Xu Wenbi เขียนบทความเกี่ยวกับ “ข้อควรระวัง 10 ข้อ” โดยเชื่อว่าการรักษาสุขภาพควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เคยชิน 10 อย่างนี้
23 ก.ย. 2564
ภูมิคุ้มกันโรคของเราอาจจะถดถอยลงได้ตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ยิ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ย่อมมีความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งหรือกลุ่มเสี่ยงถ้าหากติดเชื้อแล้วจะมีอาการรุนแรงได้
21 ก.ย. 2564
การฝังเข็มเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่รักษาภาวะนอนไม่หลับได้ นอกจากนี้ควรควบคู่กับการปรับพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ปรับเวลาเข้านอนและตื่นนอนให้เป็นระบบ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณพอเหมาะ และที่สำคัญคือปรับอารมณ์และจิตใจให้ผ่อนคลายร่วมด้วย
6 ส.ค. 2564
ถึงแม้จะมีสรรพคุณในการรักษาโรคไข้หวัดได้จริง โดยเฉพาะโรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งเกิดขึ้นในกลุ่มอาการปอดร้อนเป็นหลัก แต่ยังไม่สามารถรองรับการรักษาผู้ป่วยไข้หวัดจากเชื้อไวรัสโควิดได้อย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ อีกทั้งตัวยาจีนภายในสูตรยาดังกล่าว มีตัวยาจีนประกอบอยู่หลายชนิดที่ต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์จีนในการใช้งาน เพราะมีความอันตรายสูงและอาจส่งผลเสียต่อร่างกายได้
19 ก.ค. 2564
การติดเชื้อโควิด19 จัดอยู่ในกลุ่มโรคอาการอ่อนเพลีย(虚劳)นอนไม่หลับ(不寐)ความจำลดประสิทธิภาพ(健忘)วิตกกังวลหรือซึมเศร้า(郁证)หัวใจเต้นผิดจังหวะ (心悸)หายใจลำบากหรือความเสียหายในปอด(肺痿/肺胀)ปวดหัว(头痛)กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย (痿证)
13 ก.ค. 2564
ปอดทำหน้าที่ควบคุมการไหลเวียนของลมปราณ โดยการแผ่กระจายออกข้างนอกลมปราณปอด เพื่อให้ความชุ่มชื้นแก่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย และนำส่วนที่เหลือใช้ขับออกจากร่างกายทางลมหายใจและเหงื่อ
9 ก.ค. 2564
หลายคนสงสัยว่าควรงดหรือรับประทานยาจีนอย่างไรก่อน-หลังการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อไม่ให้ลดประสิทธิภาพในการได้รับวัคซีน และสามารถรับประทานยาสมุนไพรจีนได้อย่างต่อเนื่อง
24 พ.ค. 2564
บุคลากรของคลินิกฯ เข้ารับการฉีดวัคซีน เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 และเพื่อความปลอดภัยสูงสุดของผู้รับบริการและสังคมโดยรวม
28 เม.ย 2564
การแพทย์แผนจีนจัด COVID-19 อยู่ในขอบเขตของ โรคระบาด (瘟疫 เวินอี้) ปัจจุบันมีข้อมูลงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าจุดเด่นของ โควิด19 คือสามารถติดต่อได้จากคนสู่คน การระบาดมีความสอดคล้องกับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าโควิด19 ในทางการแพทย์แผนจีนจัดอยู่ในขอบเขตของโรค “เวินอี้ (瘟疫)” ซึ่งเป็นหนึ่งในประเภทของโรค “เวินปิ้ง (温病)”
22 เม.ย 2564
เนื่องจากช่วงระยะ 6 เดือน ที่ผ่านมามีโอกาสได้พบเคสที่มีผื่นบริเวณฝ่ามือบ่อยมากขึ้นอาจจะด้วยสถานการณ์ปัจจุบันนี้ทำให้เราต้องหมั่นล้างมือกันบ่อยมากขึ้น และมีความจำเป็นต้องใช้น้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ จึงอาจเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ใครหลายๆคน “อาการกำเริบ” หรือเกิดอาการ “ผื่นแพ้ผิวหนังอักเสบ” ขึ้นได้ จึงขอกล่าวถึงโรคหนึ่งที่พบได้บ่อยในทางคลินิก และจัดเป็นหนึ่งใน 5 อันดับโรคผิวหนังที่พบบ่อย (สถาบันโรคผิวหนัง,2561)
2 ก.พ. 2564
โรคปอดบวมไวรัสโคโรนา 2019 : อยู่ในหมวดหมูของ "โรคระบาด (疫病) " ตามศาสตร์การแพทย์แผนจีน สาเหตุการเกิดโรคคือ การสัมผัส ได้รับ ติดเชื้อโรคระบาด ลักษณะการแสดงอาการแต่ละพื้นที่มีความแตกต่าง เป็นไปตามลักษณะของเชื้อก่อโรค สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ วิถีการดำเนินชีวิต ถึงแม้จะโรคเดียวกัน แต่การรักษาไม่เหมือนกัน
2 ก.พ. 2564
การแพทย์แผนจีนจัด โรค COVID-19 อยู่ในขอบเขตของ “โรคระบาด(“瘟疫”เวินอี้)” ปัจจุบันมีข้อมูลงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าจุดเด่นของ โควิท19 คือสามารถติดต่อได้จากคนสู่คน การระบาดมีความสอดคล้องกับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าโรคโควิท19 ในทางการแพทย์แผนจีนจัดอยู่ในขอบเขตของโรค “เวินอี่ (瘟疫)” ซึ่งเป็นหนึ่งในประเภทของโรค “เวินปิ้ง (温病)”
25 ม.ค. 2564
การกดจุด เป็นหนึ่งวิธีบำรุงรักษาสุขภาพที่สำคัญมาตั้งแต่ยุคโบราณ เมื่อต้องเผชิญกับโรคระบาดร้ายแรง เช่น โรคปอดอักเสบ COVID-19 นี้ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันร่างกายให้แข็งแรง ถือเป็นสิ่งที่สำคัญ
22 ม.ค. 2564
การนวดกดจุดฝังเข็มบนใบหู เป็นเสมือนจุดสะท้อนการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกาย มีสรรพคุณในการผ่อนคลาย ลดความเครียด กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย อีกทั้งยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการนอนหลับให้ดียิ่งขึ้น
26 ส.ค. 2563
"เว่ยชี่" หรือภูมิคุ้นกันทางการแพทย์แผนจีน คือ การป้องกันการรุกรานจากภายนอก ทําให้ร่างกายอบอุ่น อวัยวะภายใน กล้ามเนื้อและขนที่อยู่ด้านนอก ล้วนได้รับการหล่อเลี้ยงด้วยเว่ยชี ปรับและควบคุมการเปิดปิดของรูขุมขน ของร่างกาย และควบคุมการขับเหงื่อ
27 เม.ย 2563
การแพทย์แผนจีน เน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงด้วยหลักการหย่างเซิงสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญการป้องกันการเกิดโรค
26 เม.ย 2563
โรคไวรัสโควิด-19 ถือเป็นโรคระบาดชนิดซือตู๋อี้ (湿毒疫) ที่มีสาเหตุจากพิษและความชื้นเป็นหลัก โรคนี้เข้าสู่เส้นลมปราณหรืออวัยวะปอดและม้ามโดยตรง ทฤษฎีพื้นฐานแพทย์จีนกล่าวไว้ว่า “ปอดควบคุมผิวหนัง” “ม้ามและกระเพาะอาหารก็ถือเป็นแม่ของปอด
24 เม.ย 2563
ปัจจุบันผลการวิจัยทางคลินิกและห้องปฏิบัติการแสดงให้เห็นว่า การฝังเข็มและการรมยาสามารถปรับสมดุลระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีสรรพคุณต้านการอักเสบ ต้านการติดเชื้อ ค่อนข้างได้ผลดีในการป้องกันและรักษาโรคติดต่อ
15 เม.ย 2563
คู่มือการนวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกัน COVID-19 ฉบับแปลไทย เพื่อให้คนไทยได้นวดทุยหนากดจุดแบบแพทย์แผนจีนสำหรับเพิ่มภูมิต้านทานป้องกันได้ด้วยตนเอง เหมาะสำหรับผู้ที่ยังไม่มีอาการ , ผู้ป่วยระยะแรก ตลอดจนผู้ป่วยCOVID-19 ระยะฟื้นฟู
12 เม.ย 2563
ตำรับยาที่คณะกรรมการสาธารณสุขและสุขภาพแห่งชาติ สาธารณรัฐประชาชนจีน ประกาศไว้ในแนวทางการตรวจรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อรักษาผู้ป่วยที่ยืนยันว่าติดเชื้อแล้วโดยปรับตามความเหมาะสมในระยะการรักษาและสภาวะร่างกายของแต่ละบุคคลและสั่งจ่ายโดยแพทย์แผนจีนเท่านั้น
6 เม.ย 2563
เพื่อการวินิจฉัยและการรักษาโรคระบาดปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ โรคไวรัสโควิด-19 (Covid-19) ทางหน่วยงานจัดตั้งผู้เชี่ยวชาญเพื่อวิเคราะห์ ตัดสิน และสรุปผลการช่วยเหลือรักษาพยาบาลที่ทำอยู่ในเบื้องต้น และทำการแก้ไขแนวทางการรักษาจนได้เป็นแนวทางในการรักษาโรคระบาดปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (ทดลองใช้ฉบับที่ 7) และประกาศใช้ให้ทุกท่านเป็นข้อมูลอ้างอิงในการดำเนินงาน
3 เม.ย 2563
บทบาทในการรักษาด้วยวิทยาการแพทย์แผนตะวันตก ร่วมกับศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีปรากฏออกมามากขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อที่มีอาการรุนแรงและเสี่ยงต่อชีวิตจำเป็นต้องอยู่ภายใต้ความดูแลของแพทย์แผนตะวันตกเป็นหลัก ส่วนบทบาทของแพทย์แผนจีนนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การฟื้นฟูร่างกายของผู้ติดเชื้อหรือแนวทางป้องกันและเสริมสร้างภูมิต้านทานเป็นสำคัญ
25 มี.ค. 2563
หัวเฉียวแพทย์แผนจีน ขอส่งความห่วงใยด้วยวิธีการหย่างเซิงที่บ้านด้วยตนเอง เสริมสร้างสุขภาพในช่วงโรค COVID-19 แนะนำสูตรโดยสำนักงานคณะกรรมการวางแผนสุขภาพและครอบครัวนครเซินเจิ้น และปรับให้เข้ากับภูมิอากาศประเทศไทย
16 ส.ค. 2562
ในทางแพทย์แผนจีนจัดกลุ่มอาการนี้อยู่ในขอบเขต “กลุ่มอาการเตียน” ซึ่งเป็นโรคที่มีความผิดปกติทางระบบจิตประสาท เนื่องจากมีเสมหะอุดกั้นทวารของหัวใจ ทำให้การทำงานของเสินแปรปรวน ลักษณะพิเศษของโรค คือ จิตใจซึมเศร้า อารมณ์เฉื่อยชา เงียบขรึม ทักษะการพูดเริ่มผิดปกติ พูดจาสับสน นิ่งสงบ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
1 ต.ค. 2561
กลุ่มพนักงานออฟฟิศหรือผู้ที่ต้องอยู่ในท่าทางซ้ำๆเป็นเวลานาน เมื่อถึงเวลาพัก ควรลุกขึ้นออกกำลังกาย ขยับเขยื้อนร่างกาย เพื่อให้เกิดการไหลเวียนของเลือดลม กล้ามเนื้อและเส้นเอนคลายตัว ทำให้ร่างกายสามารถผลิตวัตถุดิบที่เพียงพอสำหรับการสร้างเลือด ทำให้พลังเลือดลมค่อยๆเพิ่มระดับสูงขึ้น