22 ก.ย. 2566
โดยทั่วไปเรามองอาการไอ ว่าเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ ที่เข้ามารบกวนบริเวณลำคอ หรือทางเดินหายใจ เป็นลักษณะปกติเพื่อปกป้องปอด
26 พ.ค. 2565
ภาพกิจกรรม "ฟื้นฟูกายใจ พิชิตภัยลองโควิด" ภายในงานมีกิจกรรมเสวนาภาษาหมอจีน ในหัวข้อ "แพทย์จีน กับ Long Covid" รวมชิมชา "ชาแดงบาเล่ย์คั่ว"
21 ธ.ค. 2564
เมื่อเกิดการติดเชื้อ Covid-19 เชื้อไวรัสมักบุกรุกร่างกาย ส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะในหลายระบบ ในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ได้รับการรักษาและหายจากการติดเชื้อ Covid-19 แล้วนั้น ก็มักพบร่องรอยของโรคและอาการที่อาจตามมาได้ค่อนข้างหลากหลาย เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หายใจลำบาก ไอ นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงหรือต่ำ
10 พ.ย. 2564
ความสมบูรณ์ของอิน-หยางในร่างกาย มีความสำคัญต่อสุขภาพไม่ว่าจะเป็นความสมดุลระหว่างส่วนบนหรือส่วนล่างของร่างกาย หรือ ระหว่างภายในหรือภายนอกร่างกาย หรือระหว่างพลังงานชี่นอกหรือพลังงานชี่ในร่างกาย หรือ ระหว่างชี่กับมวล ถ้าความสมดุลเสียไปก็ป่วยเป็นโรค
15 ต.ค. 2564
อาการที่พบได้บ่อยที่สุดหลังจากผ่านไป 6 เดือน คือ อาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย และมีปัญหาด้านความจำ ร้อยละ 85.9 ของผู้ป่วยจะมีอาการเป็นมากขึ้นเมื่อออกกำลังกาย ทำกิจกรรม หรือเมื่อมีความเครียด และใช้เวลาในการฟื้นฟูร่างกายกลับสู่ปกตินานถึง 35 สัปดาห์
7 ต.ค. 2564
การป้องกันโรคตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนเน้นการส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงและการป้องกันการเกิดโรค ป้องกันการเปลี่ยนแปลงของโรคไม่ให้ดำเนินไปในทิศทางที่แย่ลง และป้องกันโรคไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ แพทย์แผนจีนเชื่อว่าการป้องกันโรคจำเป็นต้องเน้นการเสริมความแข็งแกร่งให้กับภูมิต้านทาน
28 ก.ย. 2564
พฤติกรรมในชีวิตประจำวันอาจดูเป็นความเคยชิน ซึ่งพฤติกรรมบางอย่างควรหลีกเลี่ยงถ้าอยากมีสุขภาพที่ดี ในราชวงศ์ชิงมีผู้เชี่ยวชาญด้านการหย่างเซิงชื่อ อาจารย์ Xu Wenbi เขียนบทความเกี่ยวกับ “ข้อควรระวัง 10 ข้อ” โดยเชื่อว่าการรักษาสุขภาพควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เคยชิน 10 อย่างนี้
23 ก.ย. 2564
ภูมิคุ้มกันโรคของเราอาจจะถดถอยลงได้ตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ยิ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ย่อมมีความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งหรือกลุ่มเสี่ยงถ้าหากติดเชื้อแล้วจะมีอาการรุนแรงได้
9 ก.ย. 2564
ภาวะร่างกายที่ไม่แข็งแรงแต่กำเนิด เจ็บป่วยนานเรื้อรัง นอนดึก ความเครียด พักผ่อนน้อย เลือกรับประทานอาหารไม่มีประโยชน์ ร่างกายทรุดโทรม หรือมีการติดเชื้อ สาเหตุเหล่านี้ทำให้ชี่เลือดอินหยางในร่างกายขาดสมดุล หัวใจทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ หลอดเลือดเกิดการอุดตัน เกิดความชื้นเลือดคั่งอุดกั้นภายใน จนส่งผลทำให้ผู้ป่วยมีอาการแสดงต่างๆ
16 ส.ค. 2562
ในทางแพทย์แผนจีนจัดกลุ่มอาการนี้อยู่ในขอบเขต “กลุ่มอาการเตียน” ซึ่งเป็นโรคที่มีความผิดปกติทางระบบจิตประสาท เนื่องจากมีเสมหะอุดกั้นทวารของหัวใจ ทำให้การทำงานของเสินแปรปรวน ลักษณะพิเศษของโรค คือ จิตใจซึมเศร้า อารมณ์เฉื่อยชา เงียบขรึม ทักษะการพูดเริ่มผิดปกติ พูดจาสับสน นิ่งสงบ หรือมีการเคลื่อนไหวน้อย
11 มิ.ย. 2561
การแพทย์แผนจีนรู้จักโรคมะเร็งปอดจากสาเหตุและกลไกการเกิดโรคที่สำคัญ ได้แก่ พลังชี่และเลือดพร่องลง, พลังชี่และเลือดติดขัด, เสมหะอุดกั้นในปอด, พิษจากเสียชี่เข้ามากระทบ, เส้นลมปราณปอดถูกทำลาย