26 พ.ค. 2565
มีรสหวาน จืด สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณหัวใจ ปอด ม้าม และไต
6 ธ.ค. 2564
มีรสขม เย็นเล็กน้อย มีพิษเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณตับ
22 พ.ย. 2564
มีรสขม เย็น มีพิษเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณตับ กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก และกระเพาะปัสสาวะ
11 พ.ย. 2564
มีรสเผ็ด ขม อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณ ม้าม กระเพาะอาหาร และตับ
11 พ.ย. 2564
มีรสเผ็ด อุ่นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณม้าม กระเพาะอาหาร ลำไส้ใหญ่ และลำไส้เล็ก ทำให้ชี่ไหลเวียน ลดอาการแน่นบริเวณส่วนกลาง ทำให้น้ำไหลเวียน ลดบวม
11 พ.ย. 2564
มีรสหวาน เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ตับ และไต ทำให้เลือดเลือดเย็น ลดร้อน และลดไฟแกร่ง
24 ต.ค. 2564
มีรสขม เย็นจัด เข้าสู่เส้นลมปราณหัวใจ ปอด ลำไส้ใหญ่ และกระเพาะปัสสาวะ ระบายความร้อนขับพิษ ระบายความร้อนในเลือด แก้บวม ใช้แก้อาการไข้หวัด เจ็บคอ คอบวม ร้อนใน ไอหอบ ท้องเสีย บิด ปัสสาวะขัดแสบร้อน แผลฝีหนอง แมลงกัดต่อย
23 ต.ค. 2564
มีรสขม เผ็ด เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณปอด และกระเพาะอาหาร ขับกระจายสาเหตุก่อโรคที่ส่วนนอกของร่างกาย ลดความกระวนกระวาย และแผ่กระจายความร้อน
23 ต.ค. 2564
มีรสหวาน สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณปอดและไต บำรุงไต เสริมการทำงานของปอด ห้ามเลือด และขับเสมหะ
19 ก.ย. 2564
มีรสเผ็ด อุ่น มีพิษ เข้าสู่เส้นลมปราณม้าม กระเพาะอาหารและปอด แก้ภาวะชื้น ละลายเสมหะ ลดการไหลย้อนของชี่ ระงับอาเจียน สลายก้อนบวม
18 ก.ย. 2564
มีรสขมและฝาด เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ตับ และม้าม ทำให้เลือดเย็นและห้ามเลือด ขจัดเสมหะและระงับไอ ทำให้ผมงอกและมีสีดำ
18 ก.ย. 2564
มีรสหวาน ขม เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอดและหัวใจ ระบายความร้อนทำให้ปอดชุ่มชื้น ขับเสมหะระงับไอ กระจายก้อนและกำจัดฝีหนอง
18 ก.ย. 2564
มีรสหวาน ฝาด ขมเล็กน้อย สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณตับและไต มีฤทธิ์ขับความชื้น ขับลม แก้ปวดตามข้อ แก้พิษ สลายก้อน
18 ก.ย. 2564
มีรสเผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณกระเพาะอาหาร ลำไส้ใหญ่ ปอด มีฤทธิ์แก้อาการจากการกระทบลมเย็นภายนอก แก้ปวดศีรษะโดยเฉพาะบริเวณหน้าผาก ลดอาการคัดจมูก แก้ตกขาว ลดบวม ขับความชื้น ขับหนอง
12 ส.ค. 2564
มีรสเค็ม เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณตับและไต
11 ส.ค. 2564
มีรสหวาน เผ็ด อุ่นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณไตและตับ
11 ส.ค. 2564
มีรสเผ็ด อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณตับ ไต ม้าม และกระเพาะอาหาร
11 ส.ค. 2564
มีรสหวาน เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณปอด กระเพาะอาหาร และกระเพาะปัสสาวะ
13 ก.ค. 2564
มีรสเผ็ด ขม อุ่น เข้าสู่เส้นลมปราณไตและม้าม
13 ก.ค. 2564
มีรสขม หวานและฝาดสมาน เย็นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ตับ และกระเพาะอาหาร มีฤทธิ์ฝาดสมานและห้ามเลือด ลดบวม ช่วยสร้างเนื้อเยื่อใหม่
13 ก.ค. 2564
รสเปรี้ยวและฝาด เย็นมาก เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ม้าม ตับ และลำไส้ใหญ่
12 ก.ค. 2564
มีรสเผ็ด มีพิษมาก ร้อน เข้าสู่เส้นลมปราณกระเพาะอาหารและลำไส้ใหญ่ ใช้ทาภายนอก รักษาแผลให้หายเร็วขึ้น
23 มี.ค. 2564
รสเผ็ดร้อนหอม ขับลม บำรุงธาตุ แก้คลื่นไส้ อาเจียน ขับเสมหะ กระจายเลือดและลมให้ซ่าน
23 มี.ค. 2564
มีรสหวาน ขม อุ่นเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณปอด ให้ความชุ่มชื้นแก่ปอด นำชี่ลงล่างเพื่อบรรเทาอาการไอ ฆ่าพยาธิและเห็บ เหา หมัด
16 ม.ค. 2564
มีรสขม เผ็ด เย็น เข้าสู่เส้นลมปราณม้าม กระเพาะอาหาร ช่วยขับลม ย่อยอาหาร แก้จุกเสียดแน่นท้อง ฆ่าพยาธิ
14 ม.ค. 2564
มีรสเผ็ดและขม สุขุม เข้าสู่เส้นลมปราณหัวใจ และม้าม เปิดทวาร ทำให้จิตใจสดชื่น ทำให้ชี่และเลือดไหลเวียนดีขึ้น ระงับปวด
5 ม.ค. 2564
มีรสเผ็ด ขม อุ่น มีพิษเล็กน้อย เข้าสู่เส้นลมปราณตับ ม้าม และไต ขับกระจายความเย็นระงับปวด อบอุ่นเส้นลมปราณเพื่อห้ามเลือด
21 ต.ค. 2563
สมุนไพรนับเป็นผลิตผลจากธรรมชาติ เป็นทั้งอาหารและยาของมนุษย์และสิ่งมีชีวิต สมุนไพรส่วนใหญ่จะพบขึ้นตามธรรมชาติ หรือมีการปลูก ในสมัยโบราณก่อนแพทย์จีนได้ให้ความสำคัญกับระบบนิเวศน์ตามธรรมชาติที่เหมาะสมกับการปลูก มีการบันทึกไว้ถึงแหล่งเก็บยาที่ดี เต้าตี้เหย้าไฉ หรือ สมุนไพรท้องถิ่น
29 ก.ย. 2563
ต้อนรับคณะอาจารย์และนักศึกษาสาขาแพทย์แผนจีนชั้นปีที่ 4 คณะการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต (College of Oriental Medicine : Rangsit University) ร่วมกิจกรรมศึกษาดูงานกระบวนการจัดการด้านคลังยาสมุนไพรจีน , วิธีการและขั้นการแปรรูปสมุนไพรสำหรับใช้ในคลินิกฯ ณ หัวเฉียวศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรจีนแบบครบวงจร อ.ศรีสมาน จ.นนทบุรี เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2563