ผลการรักษา Success Case

ภาวะนอนไม่หลับ หมายถึงภาวะที่ร่างกายไม่สามารถนอนหลับเป็นปกติได้ มีความยากลำบากในการเข้านอน หลับไม่ต่อเนื่อง รวมไปถึงคุณภาพของการนอนหลับไม่ดี

ทุยหนา คือการรักษาโดยวิธีการนวดด้วยศาสตร์แพทย์แผนจีน เป็นการนวดเพื่อการรักษา ทำหัตถการโดยแพทย์แผนจีน

กลุ่มอาการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ เป็นหนึ่งในอาการที่พบได้บ่อยทางคลินิก เป็นโรคที่เกิดจากเส้นประสาทมีเดียนที่อยู่ภายในโพรงข้อมือ

อาการหูมีเสียง คือการที่ผู้ป่วยได้ยินเสียงสูงหรือเสียงลม โดยเสียงที่ได้ยินไม่ใช่เสียงที่มาจากภายนอก ส่วนมากผู้ป่วยมักจะได้ยินเสียงเพียงผู้เดียว

โดยทั่วไปเรามองอาการไอ ว่าเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ ที่เข้ามารบกวนบริเวณลำคอ หรือทางเดินหายใจ เป็นลักษณะปกติเพื่อปกป้องปอด

“ไป๋ปี่”(白疕)เป็นชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่งในตำราแพทย์แผนจีน ที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังเป็น ๆ หาย ๆ ลักษณะเด่นคือ ผิวมีลักษณะสีแดงหรือผื่นสีแดงนูน

ปวดท้องประจำเดือน คือ การที่ผู้หญิงมีอาการปวดท้องน้อยในช่วงก่อนหรือระหว่างมีประจำเดือน บางครั้งอาจจะมีอาการปวดร้าวไปที่เอว หรือปวดหนักจนทำให้หมดสติได้

ตัวอย่างกรณีการรักษาผู้ป่วยปวดปลายประสาทหลังเป็นโรคงูสวัด (Postherpetic neuralgia, PHN) ที่แผนกอายุรกรรมภายนอก คลินิกหัวเฉียวแพทย์แผนจีน

ตัวอย่างกรณีการรักษาผู้ป่วยงูสวัด ที่แผนกอายุรกรรมภายนอก คลินิกหัวเฉียวแพทย์แผนจีน

โรคสะเก็ดเงินมีชื่อโรคในทางแพทย์แผนจีนเรียกว่า“ไป๋ปี่”(白疕)เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยที่มีการอักเสบเรื้อรังของผิวหนังเป็นๆหายๆเป็นระยะเวลานาน

อาการนอนไม่หลับเป็นปัญหาหนึ่งที่ผู้ป่วยหลังติดเชื้อโควิดกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน มีรายงานรวบรวมข้อมูลจากหลายพื้นที่พบว่า 78.6%

จากการวินิจฉัยทางแพทย์แผนจีน โดยเริ่มจากการวิเคราะห์สีหน้าคนไข้ สีหน้าไม่ซีดแต่แดงคล้ำเล็กน้อย ลิ้นมีลักษณะฝ้าเหลืองหนา ชีพจรลื่นและแรง

โรคตุ่มแข็งคันเรื้อรัง ในทางแพทย์แผนจีนมีชื่อเรียกว่า “หวันซือจู้เจี๋ย” (顽湿聚结)เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง ที่มีระยะการดำเนินของโรคยาวนาน มีอาการมีตุ่มแข็งที่แขนขาด้านนอกทั้งสองข้างร่วมกับมีอาการคัน

ภาวะมีบุตรยากในทางแพทย์แผนจีน ได้แบ่งสาเหตุออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ ไตอินพร่อง เลือดคั่งจากชี่ติดขัดและความร้อนชื้นอุดกั้น

ผู้ติดเชื้อโควิดจำนวนไม่น้อยที่ต้องเผชิญกับภาวะอาการ Long Covid  โดยอาการส่วนใหญ่ที่เราคุ้นเคยรู้จักกันดีอยู่แล้วเช่น ไอเรื้อรัง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว หายใจไม่อิ่ม ท้องอืดแน่น เป็นต้น แต่ในครั้งนี้ที่จะนำเสนอเคสตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังจากที่หายจากโควิดแล้ว กลับมีอาการปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย ซึ่งเป็นภาวะ Long Covid ที่เจอได้น้อยแต่ได้ผลดีในการรักษาแบบแพทย์แผนจีน

เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีหน้าที่ส่งสัญญาณสู่กล้ามเนื้อ lateral rectus ซึ่งมีหน้าที่กลอกตาออกด้านนอก หากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีความผิดปกติ จะทําให้ผู้ป่วยไม่สามารถกลอกตาออกด้านนอกได้

โรคไขกระดูกเสื่อม (Myelodysplastic Syndromes ,MDS) เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูกที่ทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือด

กลไกการเกิดโรคเกิดจาก "อินพร่องสารน้ำถูกทำลาย" ความร้อนประทุขึ้นมาทำลายร่างกาย โดยอินพร่องเป็นกลไกหลัก ความร้อนประทุขึ้นเป็นกลไกรอง อวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับโรคนี้คือ ปอด กระเพาะอาหาร และไต สามอวัยวะนี้แม้จะมีอาการที่แตกต่างกัน แต่ก็มีผลกระทบซึ่งกันและกัน

ในผู้ป่วยมะเร็งนั้นผลข้างเคียงจากการฉายรังสีรักษาบริเวณช่องปากและลำคอที่มักพบอยู่เป็นประจำคือภาวะปากแห้งและกลืนลำบาก การฉายแสงในบริเวณดังกล่าวส่งผลกระทบต่อต่อมน้ำลาย ท่อน้ำลาย เส้นประสาท เส้นเลือด เนื้อเยื่อและท่อทางเดินน้ำเหลืองต่างๆบริเวณนั้น ทำให้เกิดความผิดปกติในการผลิตน้ำลายขึ้น

อาการปวดท้อง อาจไม่ได้เป็นเพียงโรคกระเพาะอย่างที่หลายๆคนเข้าใจ  ในช่องท้องของคนเรานั้นมีอวัยวะต่างๆอยู่ภายใน อาการปวดท้องอาจเกิดได้จากหลายโรคหลายสาเหตุอย่าได้นิ่งนอนใจเป็นอันขาด

โรคผิวหนังที่มีความเกี่ยวข้องกับพันธุกรรมชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีค่าโปรตีน IgE สูงผิดปกติ  และคนในครอบครัวมักมีประวัติกลุ่มโรคภูมิแพ้ เช่น หอบหืด ลมพิษ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเป็นผื่นผิวหนังอักเสบตั้งแต่ทารกและไม่หายขาด โดยปกติแล้วในทางคลินิกจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่

โรคที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวบ่อย ไม่อยู่นิ่ง สติ สมาธิสั้น หากต้องทำงานหรืออ่านหนังสืออยู่เป็นระยะเวลานานจะวอกแวกได้ง่าย จิตใจไม่นิ่ง

ภาวะที่มีน้ำในช่องท้องขังสะสมมากเกินกว่าปริมาณปกติ จนทำให้ท้องขยายขนาดโตขึ้น ส่วนใหญ่ 70% เกิดจากภาวะตับแข็ง และโรคตับขั้นรุนแรง

โรคทางเดินอาหารที่เริ่มพบได้บ่อยขึ้นในปัจจุบัน มักมีอาการปวดท้อง ท้องอืดแน่นซึ่งเกิดจากกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้นทำงานผิดปกติ โดยไม่สามารถตรวจพบพยาธิสภาพหรือความผิดปกติร้ายแรงที่ชัดเจนหลังจากการตรวจพื้นฐานและส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนบน

เยื่อหุ้มชั้นนอกของหมอนรองกระดูกที่อยู่บริเวณสันหลังได้รับแรงกดหรือแรงกระแทก ทำให้เนื้อเยื่อชั้นนอกค่อยๆถูกทำลายหรือฉีกขาด

อาการอ่อนกำลังของกล้ามเนื้อบนใบหน้า ทำให้หลับตาได้ไม่แน่นสนิท และมุมปากเบี้ยวเอียงลงปิดปากไม่สนิทแน่น มีอาการเสียการรับรสของปลายลิ้นด้านที่เป็น

เมื่อกระดูกสันหลังระดับเอวเคลื่อนไปด้านหน้าเหนือข้อต่อปล้องกระดูกสันหลังชิ้นล่างที่อยู่ติดกัน ทำให้โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบลง เกิดการกดเบียดรากประสาท ที่พบบ่อยคือการเสื่อมสภาพของกระดูกสันหลัง

ผู้ป่วยมีอาการปวดหัวเข่าด้านขวา เดินนานมีอาการปวดหัวเข่ามาก ขึ้นลงบันไดลำบาก ไม่สามารถนั่งยองได้

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้