21 พ.ค. 2562
แพทย์แผนจีนไม่มีชื่อโรควิตกกังวล แต่อ้างอิงจากอาการทางคลินิกจัดอยู่ในขอบเขตของโรคทางอารมณ์ และโรคของหัวใจ มีความสัมพันธ์กับอาการ ชี่ติดขัด (郁症) ตกใจ (惊) ใจหวิว (悸) ใจสั่น (心悸) ใจสั่นรัว (怔忡) นอนไม่หลับ (不寐) โรคไป่เหอ (百合病) โดยมีสาเหตุของโรคสัมพันธ์กับ อารมณ์ติดขัด ตับไม่เก็บกักจิตวิญญาณ ครุ่นคิดมากเกินไป หัวใจและไตทำงานไม่ประสานกัน ชี่หัวใจไม่พอ เสมหะปิดกั้นทวารของหัวใจ
15 มี.ค. 2562
สาเหตุของอาการปวด เกิดได้ทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกร่างกาย ในทางการแพทย์แผนจีน ได้จัดหมวดหมู่กลุ่มอาการปวด ไม่ว่าจะเป็นอาการปวดคอ ปวดเอว ปวดข้อ และปวดกล้ามเนื้อ อยู่ในกลุ่มอาการ ปีเจิ้ง
12 ก.พ. 2562
อาการอ่อนกำลังของกล้ามเนื้อบนใบหน้า ทำให้หลับตาได้ไม่แน่นสนิท และมุมปากเบี้ยวเอียงลงปิดปากไม่สนิทแน่น มีอาการเสียการรับรสของปลายลิ้นด้านที่เป็น
9 ม.ค. 2562
กรณีศึกษาการรักษากลุ่มอาการด้านกระดูกและกล้ามเนื้อ อาการปวดต้นคอด้านซ้าย มีวิธีการประเมินการรักษาและขั้นตอนการรักษาโดยวิธีการรักษาแบบแพทย์แผนจีนอย่าง
3 ส.ค. 2561
ลักษณะพิเศษของโรคจ้งเฟิง คือ เกิดอาการฉับพลันชัดเจน จากหลายสาเหตุ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีลักษณะคล้ายกับลมในธรรมชาติ ซึ่งเคลื่อนไหวเร็วและเปลี่ยนแปลงง่าย คำว่า 中แปลว่า ถูกกระทำ และ 风แปลว่า ลม จ้งเฟิง โดยรูปศัพท์จึงหมายถึง โรคที่ถูกกระทำโดยลม โรคจ้งเฟิงจัดเป็นปัญหาสุขภาพอันดับต้น ๆ ของการแพทย์จีน และยังเป็นโรคที่ได้ชื่อว่า “สามสูงในหนึ่งเดียว (三高一多)” คือ เป็นโรคที่มี อัตราการเกิดโรคสูง อัตราตายสูง และอัตราพิการสูง
3 ก.ค. 2561
หลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว ยังคงมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือปวดแบบเหมือนมีเข็มมาทิ่มแทง อาจเป็นตลอดเวลา หรือเป็นๆหายๆเป็นช่วงๆ หรือ อาการปวดเจ็บแบบแปร๊บๆตามแนวเส้นประสาทหลังจากที่ผื่นหรือตุ่มน้ำของงูสวัดหายไป
18 มิ.ย. 2561
เมื่อเรานอนไม่หลับ ย่อมส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตในแต่ละวันของเราเกือบจะทั้งหมด อีกทั้งยังทำให้การทำงานของอวัยวะภายในร่างกาย โดยเฉพาะ สมองของเราหย่อนสมรรถภาพลง
14 มิ.ย. 2561
อาการที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ แผนกผู้ป่วยนอกบางแห่งอาจมีถึงร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ อาการปวดหลังอาจเป็นเล็กน้อย แล้วหายเองได้ แต่มีบางรายที่ต้องผ่าตัด
31 พ.ค. 2561
บุหรี่เกี่ยวข้องกับปอด ปอดทำหน้าที่กระจายซี่ กระจายพลังเปรียบเสมือนต้นไม้ของร่างกาย การสูบบุหรี่เข้าไปในทางเดินหายใจเข้าสู่ปอด ทำให้ร่างกายขาดความสมดุล ซี่และเลือดไหลเวียนไม่ดีจนทำให้เกิดโรค
29 พ.ค. 2561
การฝังเข็มทำให้หลอดเลือดขยายตัว เลือดไหลเวียนเข้าสู่หลอดเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงอวัยวะต่างๆมากขึ้น ทั้งสมอง หัวใจ และแขนขา เพราะมีการศึกษาพบว่า การฝังเข็มจะไปลดการส่งกระแสประสาทซิมพาเทติกที่มีปมประสาทวางเรียงอยู่สองข้างของแนวไขสันหลัง ตั้งแต่บริเวณช่วงคอถึงเอว
23 พ.ค. 2561
กลุ่มอาการของโรคที่เกิดขึ้นบริเวณไขสันหลัง รากประสาท และระบบไหลเวียนเลือดที่ระดับคอ จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบริเวณศีรษะ คอ หัวไหล่ แขน หรือหน้าอก
21 พ.ค. 2561
แพทย์จีนจะรักษาโดยการฝังเข็มที่จุดหลักและจุดเสริม การรักษาแต่ละครั้งแพทย์จะเลือก 3-5 จุด สำหรับนอนไม่หลับจากฟัวใจและไฟตับมากเกิน เสลดร้อนกระทบหัวใจ ชี่ติดขัดและเลือดคั่งแพทย์จีนจะฝังเข็มกระตุ้นระบาย หัวใจและม้ามพร่องจะฝังเข็มกระตุ้นบำรุง
19 พ.ค. 2561
การครอบแก้ว สามารถรักษาได้หลายโรคหลายอาการ เช่น ไอ ไข้หวัด หอบหืด ลมพิษ โดยเฉพาะอาการปวดบริเวณต่าง ๆ ตามร่างกาย
30 เม.ย 2561
เมื่อความแปรปรวนของระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงก่อนถึงวัยหมดประจำเดือนและการลดลงของเอสโตรเจนอย่างมากในช่วงหลังวัยหมดประจำเดือน ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจซึ่งค่อยๆเป็นมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะพร่องเอสโทรเจน โดยเฉพาะในระยะต่อมาอีกหลายปีจนเข้าสู่วัยสูงอายุ
24 เม.ย 2561
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนมองว่าโรคนี้มีสาเหตุมาจากลมเย็น หรือลมร้อนเข้ากระทำต่อปอด เกิดความร้อนสะสม ส่งผลต่อเส้นลมปราณที่ผ่านบริเวณจมูก
20 เม.ย 2561
การที่หญิงไม่สามารถตั้งครรภ์หลังแต่งงานในระยะ 3 ปีหรือเกินกว่านั้นหรือไม่ตั้งครรภ์อีกหลังจากเคยมีบุตรแล้วหลายปีจัดว่าอยู่ในภาวะมีบุตรยาก
14 เม.ย 2561
ปัญหาใหญ่ทั้งในทางสังคมและทางการแพทย์ ผลของแอลกอฮอล์ต่อร่างกายในระยะยาวนั้นรุนแรงโดยเฉพาะกรณีที่ดื่มมากหรือดื่มเป็นเวลานาน
13 เม.ย 2561
ภาวะกรดไหลย้อน ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน เรียกว่า TunSuan มีสาเหตุจากไฟตับลุกโชนและรุนแรงทำให้เกิดการเสียสมดุลระหว่างตับและกระเพาะอาหาร
13 เม.ย 2561
ตามทฤษฎีแพทย์แผนจีนอธิบายว่า อาการปวดเข่าเกิดเนื่องจากมีการอุดกั้นของพลังลมปราณ การฝังเข็มจะทำให้ลมปราณหมุนเวียนดีขึ้น ช่วยแก้ไขการอุดกั้นของลมปราณ นอกจากนี้ การฝังเข็มยังช่วยปรับสมดุลของร่างกาย
12 เม.ย 2561
การฝังเข็มเป็นวิธีการรักษาโรค ฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยการใช้เข็มปักตามตำแหน่งจุดเฉพาะต่าง ๆ ของร่างกาย มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับสมดุลร่างกาย ช่วยปรับให้อวัยวะและระบบการทำงานต่าง ๆ ของร่างกายกลับทำงานได้เป็นปกติ
12 เม.ย 2561
ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน หลักคิดในการรักษาคือ "การระบาย" สาเหตุของอาการปวดเกิดจาก "การติดขัดของการไหลเวียนของชี่หรือลมปราณ" หรือจากการที่ชี่และเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ
25 มี.ค. 2561
อาการสะสมจากการทำพฤติกรรมซ้ำๆ ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังแบบ “ออฟฟิศซินโดรม” หรือ “ภาวะหลังค่อม” ซึ่งไม่เป็นผลดีนะครับ ปล่อยเอาไว้นานๆไม่รักษาและไม่ปรับพฤติกรรมก็อาจจะเป็นผลเสียต่อสุขภาพ
19 ก.พ. 2561
การรมยา เป็นวิธีการใช้สมุนไพร “อ้ายเย่ ” มีกลิ่นฉุน จุดติดไฟง่าย เพื่อให้เกิดความร้อนบนจุดหรือตำแหน่งที่แน่นอนบนร่างกาย เป็นการรักษา ป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
19 ก.พ. 2561
ทำไมหมอจีนจะต้องแมะที่ข้อมือ คุณหมอฟังชีพจรอะไร? ชีพจรสองข้างเหมือนกันหรือไม่ แมะแล้วบอกได้เลยหรือไม่ว่าเป็นโรคอะไร? น่าเชื่อถือหรือ?