ประสบการณ์การรักษา

ในทางการแพทย์แผนจีน ภาวะใบหน้าอัมพาตครึ่งซีก เกิดจากการที่ร่างกายมีเจิ้งชี่ไม่เพียงพอและอารมณ์ที่ผิดปกติ ทำให้ชี่ตับอุดกั้น จนเกิดความร้อนสะสมและพิษร้อน ซึ่งทำให้พิษรุกรานเส้นลมปราณที่หูและใบหน้า ส่งผลให้เกิดการไหลเวียนติดขัด ปวดหู หูมีเสียง และอาการผิวหนังที่มีตุ่มน้ำและผื่นแดง ทำให้กล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรงและมีปัญหาการเคลื่อนไหว

ภาวะนอนไม่หลับ หมายถึงภาวะที่ร่างกายไม่สามารถนอนหลับเป็นปกติได้ มีความยากลำบากในการเข้านอน หลับไม่ต่อเนื่อง รวมไปถึงคุณภาพของการนอนหลับไม่ดี

ทุยหนา คือการรักษาโดยวิธีการนวดด้วยศาสตร์แพทย์แผนจีน เป็นการนวดเพื่อการรักษา ทำหัตถการโดยแพทย์แผนจีน

กลุ่มอาการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ เป็นหนึ่งในอาการที่พบได้บ่อยทางคลินิก เป็นโรคที่เกิดจากเส้นประสาทมีเดียนที่อยู่ภายในโพรงข้อมือ

อาการหูมีเสียง คือการที่ผู้ป่วยได้ยินเสียงสูงหรือเสียงลม โดยเสียงที่ได้ยินไม่ใช่เสียงที่มาจากภายนอก ส่วนมากผู้ป่วยมักจะได้ยินเสียงเพียงผู้เดียว

สารที่หล่อเลี้ยงดวงตาได้แก่เลือด ชี่ และ สารจิง จะถูกนำไปหล่อเลี้ยงดวงตาโดยผ่านทางเส้นลมปราณการใช้สมองและสายตาเป็นเวลานานจะส่งผลให้ต่อเสินของหัวใจถูกทำลาย และทำลายชี่และเลือด ทำให้สารสำคัญต่างไปเลี้ยงดวงตาไม่พอเกิดอาการตาแห้ง

สาเหตุพื้นฐานของการเกิดภาวะเบื่ออาหารในเด็กมักเกี่ยวข้องกับการทานอาหารที่ไม่เหมาะสมหรือขาดคุณค่าทางโภชนาการในเด็ก เมื่อระยะโรคดำเนินเป็นเวลานาน

ผู้ติดเชื้อโควิดจำนวนไม่น้อยที่ต้องเผชิญกับภาวะอาการ Long Covid  โดยอาการส่วนใหญ่ที่เราคุ้นเคยรู้จักกันดีอยู่แล้วเช่น ไอเรื้อรัง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว หายใจไม่อิ่ม ท้องอืดแน่น เป็นต้น แต่ในครั้งนี้ที่จะนำเสนอเคสตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังจากที่หายจากโควิดแล้ว กลับมีอาการปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย ซึ่งเป็นภาวะ Long Covid ที่เจอได้น้อยแต่ได้ผลดีในการรักษาแบบแพทย์แผนจีน

เส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีหน้าที่ส่งสัญญาณสู่กล้ามเนื้อ lateral rectus ซึ่งมีหน้าที่กลอกตาออกด้านนอก หากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 มีความผิดปกติ จะทําให้ผู้ป่วยไม่สามารถกลอกตาออกด้านนอกได้

พบได้ตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงวัยก่อนหมดประจำเดือน การที่ประจำเดือนมาช้าอาจส่งผลเสียกับผู้หญิงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากอีกด้วย 

อาการปวดศีรษะช่วงมีประจำเดือนสัมพันธ์กับอวัยวะตับ เนื่องด้วยเส้นลมปราณตับส่วนหนึ่งมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับศีรษะ อีกทั้งตับเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่กักเก็บเลือด หากเลือดพร่องหรือเลือดคั่ง เลือดไหลเวียนติดขัด ทำให้เลือดไปหล่อเลี้ยงศีรษะไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดอาการปวดศีรษะได้

กลไกการเกิดโรค คือ เสินหัวใจขาดการหล่อเลี้ยง หรือ ถูกรบกวน  จิตใจไม่สงบ การทำงานของเส้นลมปราณอินเฉียวม่าย หยางเฉียวม่ายขาดสมดุล หยางแกร่ง อินพร่อง อินหยางขาดสมดุล หยางไม่เข้าสู่อิน

รักษาด้วยการฝังเข็ม โดยใช้หลักการรักษา ระบายไฟตับ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด ขับพิษ ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดปลายประสาทหลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว และอาจมีอาการกำเริบช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลง

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้