ฝังเข็ม

อาการอ่อนกำลังของกล้ามเนื้อบนใบหน้า ทำให้หลับตาได้ไม่แน่นสนิท และมุมปากเบี้ยวเอียงลงปิดปากไม่สนิทแน่น มีอาการเสียการรับรสของปลายลิ้นด้านที่เป็น

กรณีศึกษาการรักษากลุ่มอาการด้านกระดูกและกล้ามเนื้อ อาการปวดต้นคอด้านซ้าย มีวิธีการประเมินการรักษาและขั้นตอนการรักษาโดยวิธีการรักษาแบบแพทย์แผนจีนอย่าง

ลักษณะพิเศษของโรคจ้งเฟิง คือ เกิดอาการฉับพลันชัดเจน จากหลายสาเหตุ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว มีลักษณะคล้ายกับลมในธรรมชาติ ซึ่งเคลื่อนไหวเร็วและเปลี่ยนแปลงง่าย คำว่า 中แปลว่า ถูกกระทำ และ 风แปลว่า ลม จ้งเฟิง โดยรูปศัพท์จึงหมายถึง โรคที่ถูกกระทำโดยลม โรคจ้งเฟิงจัดเป็นปัญหาสุขภาพอันดับต้น ๆ ของการแพทย์จีน และยังเป็นโรคที่ได้ชื่อว่า “สามสูงในหนึ่งเดียว (三高一多)” คือ เป็นโรคที่มี อัตราการเกิดโรคสูง อัตราตายสูง และอัตราพิการสูง

หลังจากผื่นงูสวัดหายแล้ว ยังคงมีอาการปวดแสบปวดร้อน หรือปวดแบบเหมือนมีเข็มมาทิ่มแทง อาจเป็นตลอดเวลา หรือเป็นๆหายๆเป็นช่วงๆ หรือ อาการปวดเจ็บแบบแปร๊บๆตามแนวเส้นประสาทหลังจากที่ผื่นหรือตุ่มน้ำของงูสวัดหายไป

เมื่อเรานอนไม่หลับ ย่อมส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตในแต่ละวันของเราเกือบจะทั้งหมด อีกทั้งยังทำให้การทำงานของอวัยวะภายในร่างกาย โดยเฉพาะ สมองของเราหย่อนสมรรถภาพลง

อาการที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ แผนกผู้ป่วยนอกบางแห่งอาจมีถึงร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ อาการปวดหลังอาจเป็นเล็กน้อย แล้วหายเองได้ แต่มีบางรายที่ต้องผ่าตัด

บุหรี่เกี่ยวข้องกับปอด ปอดทำหน้าที่กระจายซี่ กระจายพลังเปรียบเสมือนต้นไม้ของร่างกาย การสูบบุหรี่เข้าไปในทางเดินหายใจเข้าสู่ปอด ทำให้ร่างกายขาดความสมดุล ซี่และเลือดไหลเวียนไม่ดีจนทำให้เกิดโรค

การฝังเข็มทำให้หลอดเลือดขยายตัว เลือดไหลเวียนเข้าสู่หลอดเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงอวัยวะต่างๆมากขึ้น ทั้งสมอง หัวใจ และแขนขา เพราะมีการศึกษาพบว่า การฝังเข็มจะไปลดการส่งกระแสประสาทซิมพาเทติกที่มีปมประสาทวางเรียงอยู่สองข้างของแนวไขสันหลัง ตั้งแต่บริเวณช่วงคอถึงเอว

กลุ่มอาการของโรคที่เกิดขึ้นบริเวณไขสันหลัง รากประสาท และระบบไหลเวียนเลือดที่ระดับคอ จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดบริเวณศีรษะ คอ หัวไหล่ แขน หรือหน้าอก

แพทย์จีนจะรักษาโดยการฝังเข็มที่จุดหลักและจุดเสริม การรักษาแต่ละครั้งแพทย์จะเลือก 3-5 จุด สำหรับนอนไม่หลับจากฟัวใจและไฟตับมากเกิน เสลดร้อนกระทบหัวใจ ชี่ติดขัดและเลือดคั่งแพทย์จีนจะฝังเข็มกระตุ้นระบาย หัวใจและม้ามพร่องจะฝังเข็มกระตุ้นบำรุง

การครอบแก้ว สามารถรักษาได้หลายโรคหลายอาการ เช่น ไอ ไข้หวัด หอบหืด ลมพิษ โดยเฉพาะอาการปวดบริเวณต่าง ๆ ตามร่างกาย

เมื่อความแปรปรวนของระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงก่อนถึงวัยหมดประจำเดือนและการลดลงของเอสโตรเจนอย่างมากในช่วงหลังวัยหมดประจำเดือน ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจซึ่งค่อยๆเป็นมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะพร่องเอสโทรเจน โดยเฉพาะในระยะต่อมาอีกหลายปีจนเข้าสู่วัยสูงอายุ

ศาสตร์การแพทย์แผนจีนมองว่าโรคนี้มีสาเหตุมาจากลมเย็น หรือลมร้อนเข้ากระทำต่อปอด เกิดความร้อนสะสม ส่งผลต่อเส้นลมปราณที่ผ่านบริเวณจมูก 

การที่หญิงไม่สามารถตั้งครรภ์หลังแต่งงานในระยะ 3 ปีหรือเกินกว่านั้นหรือไม่ตั้งครรภ์อีกหลังจากเคยมีบุตรแล้วหลายปีจัดว่าอยู่ในภาวะมีบุตรยาก

ปัญหาใหญ่ทั้งในทางสังคมและทางการแพทย์ ผลของแอลกอฮอล์ต่อร่างกายในระยะยาวนั้นรุนแรงโดยเฉพาะกรณีที่ดื่มมากหรือดื่มเป็นเวลานาน

ภาวะกรดไหลย้อน ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน เรียกว่า TunSuan มีสาเหตุจากไฟตับลุกโชนและรุนแรงทำให้เกิดการเสียสมดุลระหว่างตับและกระเพาะอาหาร

ตามทฤษฎีแพทย์แผนจีนอธิบายว่า อาการปวดเข่าเกิดเนื่องจากมีการอุดกั้นของพลังลมปราณ การฝังเข็มจะทำให้ลมปราณหมุนเวียนดีขึ้น ช่วยแก้ไขการอุดกั้นของลมปราณ นอกจากนี้ การฝังเข็มยังช่วยปรับสมดุลของร่างกาย

การฝังเข็มเป็นวิธีการรักษาโรค ฟื้นฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยการใช้เข็มปักตามตำแหน่งจุดเฉพาะต่าง ๆ ของร่างกาย มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับสมดุลร่างกาย ช่วยปรับให้อวัยวะและระบบการทำงานต่าง ๆ ของร่างกายกลับทำงานได้เป็นปกติ

ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน หลักคิดในการรักษาคือ "การระบาย" สาเหตุของอาการปวดเกิดจาก "การติดขัดของการไหลเวียนของชี่หรือลมปราณ" หรือจากการที่ชี่และเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ 

อาการสะสมจากการทำพฤติกรรมซ้ำๆ ทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยเรื้อรังแบบ “ออฟฟิศซินโดรม” หรือ “ภาวะหลังค่อม” ซึ่งไม่เป็นผลดีนะครับ ปล่อยเอาไว้นานๆไม่รักษาและไม่ปรับพฤติกรรมก็อาจจะเป็นผลเสียต่อสุขภาพ

การรมยา เป็นวิธีการใช้สมุนไพร “อ้ายเย่ ” มีกลิ่นฉุน จุดติดไฟง่าย เพื่อให้เกิดความร้อนบนจุดหรือตำแหน่งที่แน่นอนบนร่างกาย เป็นการรักษา ป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ

ทำไมหมอจีนจะต้องแมะที่ข้อมือ คุณหมอฟังชีพจรอะไร? ชีพจรสองข้างเหมือนกันหรือไม่ แมะแล้วบอกได้เลยหรือไม่ว่าเป็นโรคอะไร? น่าเชื่อถือหรือ?

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้