28 มิ.ย. 2565
อาการนอนไม่หลับเป็นปัญหาหนึ่งที่ผู้ป่วยหลังติดเชื้อโควิดกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน มีรายงานรวบรวมข้อมูลจากหลายพื้นที่พบว่า 78.6%
9 มิ.ย. 2565
ผู้ติดเชื้อโควิดจำนวนไม่น้อยที่ต้องเผชิญกับภาวะอาการ Long Covid โดยอาการส่วนใหญ่ที่เราคุ้นเคยรู้จักกันดีอยู่แล้วเช่น ไอเรื้อรัง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว หายใจไม่อิ่ม ท้องอืดแน่น เป็นต้น แต่ในครั้งนี้ที่จะนำเสนอเคสตัวอย่างเป็นผู้ป่วยหลังจากที่หายจากโควิดแล้ว กลับมีอาการปัสสาวะไม่สุด ปัสสาวะบ่อย ซึ่งเป็นภาวะ Long Covid ที่เจอได้น้อยแต่ได้ผลดีในการรักษาแบบแพทย์แผนจีน
23 ก.ย. 2564
ภูมิคุ้มกันโรคของเราอาจจะถดถอยลงได้ตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ยิ่งในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ย่อมมีความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ง่าย โดยเฉพาะผู้ป่วยมะเร็งหรือกลุ่มเสี่ยงถ้าหากติดเชื้อแล้วจะมีอาการรุนแรงได้
19 ก.ค. 2564
การติดเชื้อโควิด19 จัดอยู่ในกลุ่มโรคอาการอ่อนเพลีย(虚劳)นอนไม่หลับ(不寐)ความจำลดประสิทธิภาพ(健忘)วิตกกังวลหรือซึมเศร้า(郁证)หัวใจเต้นผิดจังหวะ (心悸)หายใจลำบากหรือความเสียหายในปอด(肺痿/肺胀)ปวดหัว(头痛)กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย (痿证)
28 เม.ย 2564
การแพทย์แผนจีนจัด COVID-19 อยู่ในขอบเขตของ โรคระบาด (瘟疫 เวินอี้) ปัจจุบันมีข้อมูลงานวิจัยมากมายแสดงให้เห็นว่าจุดเด่นของ โควิด19 คือสามารถติดต่อได้จากคนสู่คน การระบาดมีความสอดคล้องกับภูมิภาค สิ่งเหล่านี้บ่งบอกว่าโควิด19 ในทางการแพทย์แผนจีนจัดอยู่ในขอบเขตของโรค “เวินอี้ (瘟疫)” ซึ่งเป็นหนึ่งในประเภทของโรค “เวินปิ้ง (温病)”
26 เม.ย 2563
โรคไวรัสโควิด-19 ถือเป็นโรคระบาดชนิดซือตู๋อี้ (湿毒疫) ที่มีสาเหตุจากพิษและความชื้นเป็นหลัก โรคนี้เข้าสู่เส้นลมปราณหรืออวัยวะปอดและม้ามโดยตรง ทฤษฎีพื้นฐานแพทย์จีนกล่าวไว้ว่า “ปอดควบคุมผิวหนัง” “ม้ามและกระเพาะอาหารก็ถือเป็นแม่ของปอด
6 เม.ย 2563
เพื่อการวินิจฉัยและการรักษาโรคระบาดปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ หรือ โรคไวรัสโควิด-19 (Covid-19) ทางหน่วยงานจัดตั้งผู้เชี่ยวชาญเพื่อวิเคราะห์ ตัดสิน และสรุปผลการช่วยเหลือรักษาพยาบาลที่ทำอยู่ในเบื้องต้น และทำการแก้ไขแนวทางการรักษาจนได้เป็นแนวทางในการรักษาโรคระบาดปอดอักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (ทดลองใช้ฉบับที่ 7) และประกาศใช้ให้ทุกท่านเป็นข้อมูลอ้างอิงในการดำเนินงาน
3 เม.ย 2563
บทบาทในการรักษาด้วยวิทยาการแพทย์แผนตะวันตก ร่วมกับศาสตร์การแพทย์แผนจีนมีปรากฏออกมามากขึ้นในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อที่มีอาการรุนแรงและเสี่ยงต่อชีวิตจำเป็นต้องอยู่ภายใต้ความดูแลของแพทย์แผนตะวันตกเป็นหลัก ส่วนบทบาทของแพทย์แผนจีนนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การฟื้นฟูร่างกายของผู้ติดเชื้อหรือแนวทางป้องกันและเสริมสร้างภูมิต้านทานเป็นสำคัญ